ประวัติส่วนตัว


ประวัติส่วนตัว


ชื่อ นาย กิตติศักดิ์ ดอนคำเหี่ย ชื่อเล่น นัท


วันเกิด 1 ตุลาคม 2533


อายุ 23 ปี


ที่อยู่ 17 หมู่ 7 หมู่บ้านปรารถนาทาวส์พลัส ถนนกลางทุ่ง ตำบลเนินพระ จังหวัดระยอง 21000


ประวัติการศึกษา


สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา


โรงเรียนบ้านยาง (ยางทวงวิทยา)


สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา


โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลอนุสรณ์)


สำเร็จการศึกษาระดับ ปวช


วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร์ (สาขายานยนต์)


สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส


วิทยาลัยเทคนิคระยอง (สาขาการจัดการโลจิสติกส์)


E-mail nutty-_0@hotmail.com








น้องโคเอ้

น้องโคเอ้

วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

แบบทดสอบ เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์


1. จงอธิบายความหมาย พร้อมยกตัวอย่างของคำดังต่อไปนี้

Hareware หมายถึง ส่วนที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบขึ้นมาใช้งานได้ ซึ่งสามารถแบ่งส่วนประกอบได้ 3 ส่วนที่สำคัญ คือ

                1.  อุปกรณ์รับข้อมูล เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ แทร็กบอล

            2.  อุปกรณ์ของหน่วยประมวลผล เช่น ฮาร์ดดิสก์  ซีดี

            3.  อุปกรณ์แสดงผล เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ ลำโพง

Software หมายถึง เป็นส่วนของโปรแกรมหรือชุดคาสั่ง เพื่อที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวอาจจะเขียนอยู่ในรูปของภาษาเครื่องที่จะทำให้เครื่องเข้าใจและทำงานได้โดยตรง

ซอฟต์แวร์ประยุกต์

                -ซอฟต์แวร์ระบบ-ระบบปฏิบัติการหรือควบคุมเครื่องยูติลิตี้

                -โปรแกรมเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องดีไวท์ไดร์ฟเวอร์

                -โปรแกรมไดร์ฟเวอร์ของอุปกรณ์ต่อพ่วงตัวแปลภาษา

                -โปรแกรมแปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาระดับสูง

                ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน เป็น Software ที่ใช้สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น Software สำหรับงานธนาคารการฝากถอนเงิน Software สำหรับงานทะเบียนนักเรียน ซอฟต์แวร์คิดภาษี ซอฟต์แวร์การให้บริการร้าน Seven ฯลฯซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป โดยในซอฟต์แวร์ 1 ตัวมีความสามารถในการทางานได้หลายอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์งานด้านเอกสาร (Microsoft Word ) มีความสามารถในการสร้างงานเอกสารต่าง ๆ จัดทำเอกสารรายงาน จัดทาแผ่นพับ จัดทำหนังสือเวียน จัดทาสื่อสิ่งพิมพ์


Peopleware  หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้)

1.ผู้จัดการระบบ (System Manager)

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)

4. ผู้ใช้ (User)

1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

 
Data  หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือสาระต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสินใจได้ทันที จะนำไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว

                การแบ่งข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล-มอง, ฟัง , สัมผัส

                การแบ่งข้อมูลตามแหล่งข้อมูลที่ได้รับ

-ปฐมภูมิ - การสังเกต,การสัมภาษณ์,การจดบันทึก,การสำรวจ

-ทุติยภูมิ - ผลจากการนาข้อมูลปฐมภูมิมาประมวลผล

                การแบ่งข้อมูลตามการจัดเก็บในสื่ออิเล็กทรอนิกส์-ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) -ข้อมูลภาพ (Image Data) -ข้อมูลเสียง (Sound Data) -ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data)


Information หมายถึง สิ่งที่ได้จากการประมวลผลของข้อมูล เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ในด้านการวางแผน การพัฒนา การควบคุม และการตัดสินใจ สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความถูกต้อง สมบูรณ์ น่าเชื่อถือ มีความทันสมัย โดยมีรูปแบบการนาเสนอที่สวยงาม ชัดเจน น่าสนใจ และเข้าใจได้ง่าย

1) การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัตินักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีการแบ่งหมวดสินค้าและบริการ เพื่อความสะดวกในการค้นหา

2) การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลำดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ ทำให้ค้นหาได้ง่าย

3) การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจำนวนมาก จำเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจำนวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น

4) การคำนวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจำนวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนำไปคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคำนวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย

 
2. หากนักศึกษาเป็นเจ้าของธุรกิจ ดังต่อไปนี้ (เลือก 1 ธุรกิจ) จะนำองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ได้แก่ Hardware ,Software และ Peopleware ใดมาใช้ในธุรกิจบ้าง เพราะเหตุใดจงอธิบาย

-ร้านขายของสะดวกซื้อ

Hardware คือ คอมพิวเตอร์ จอภาพ แป้นพิมพ์ เครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่องพิมพ์ใบเสร็จ

Software คือ โปรแกรมบริหารร้านค้าปลีก (Dmart)

Peopleware คือ พนักงานแคชเชียร์

เหตุผล เพื่อนำโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการบริหารร้านค้าในส่วนของ การบันทึกการขาย การคิดเงินและออกใบเสร็จ การตรวจสอบปริมาณสินค้าคงเหลือ ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ทำให้การขายทำได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และสามารถบริหารสินค้าได้อย่างถูกต้องแม่นยำ

 
3. ให้นักศึกษา แสดงข้อมูล จำนวน 1 ชุด พร้อมทั้งแสดงในรูปแบบของระบบสารสนเทศ
 
 
 
 
 
 

วันเสาร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2556

ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่เว็ปบล็อกของ nuttykittisak นะครับ